ชื่อ :: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เสริมศิริ จันทร์เปรม 
Assits.Prof. Dr.Sermsiri Chanprame
รหัสอาจารย์ที่ปรึกษา :: A3712


การศึกษา

  • Ph.D.(Agronomy/Biotechnology), University of Illinos, USA


ตำแหน่งวิชาการ

  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ Assistant Professor

สายงาน

  • เทคโนโลยีชีวภาพด้านพืช Plant Biotechnoloy

ความเชี่ยวชาญและสนใจ

  • การปรับปรุงพันธุ์พืชโดยใช้เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อร่วมกับการใช้รังสีและสารเคมี

    เทคโนโลยีชีวภาพด้านพืช

    การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเทคนิคการถ่ายยีนและอณูชีววิทยา


email : This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.   
โทรศัพท์/Tel 0-3435-1889, ภายใน 3385 ext. 106
โทรสาร/Fax 0-3435-1889 ext 105


ตำรา/บทความวิชาการ/เอกสารประกอบการสอน

  • การพัฒนาการใช้กากของเสียจากโรงงานแช่เยือกแข็งอาหารทะเลเพื่อการผลิตพืช

    การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ hairy root ของเจตมูลเพลิงแดงเพื่อผลิตสารทุติยภูมิ

    การชะลอการสุกของผลมะละกอโดยใช้เทคนิคแอนทิเซนต์

    การเพาะเลี้ยงแคลลัส และเซลล์แขวนลอย ของเจตมูลเพลิงแดงเพื่อผลิตสารทุติยภูมิ

    การเพิ่มศักยภาพการผลิตสารทุติยภูมิของเจตมูลเพลิงแดงโดยการเพิ่มชุดโครโมโซม และการก่อกลายพันธุ์

    การพัฒนาพันธุ์ กล้วยไม้เพื่อการส่งออก

    การผลิต plumbagin ในสภาพปลอดเชื้อ

    การสำรวจและรวบรวมพันธุ์พืชต่างๆที่มีศักยภาพในการผลิตสาร plumbagin

    การสร้างความแปรปรวนทางพันธุกรรมให้กับเจตมูลเพลิงแดงเพื่อการคัดเลือกและ ปรับปรุงพันธุ์

    การพัฒนาเทคนิคการถ่ายยีนในยูคาลิปตัส

ผลงานตีพิมพ์

  • 1.Piyanuch Sornchai, Wouter G. van Doorn, Wachiraya Imsabai, Parichart Burns, Sermsiri Chanprame. 2020. Dendrobium orchids carrying antisense ACC oxidase: small changes in flower morphology and a delay of bud abortion, flower senescence, and abscission of flowers. Transgenic Research  29(4): DOI 10.1007/s11248-020-00209-8

  • 2.ศศิวิมล จันทร์สุเทพ, สนธิชัย จันทร์เปรม และ เสริมศิริ จันทร์เปรม. 2562. การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสารพลัมบาจินจาก hairy root ของเจตมูลเพลิงแดงด้วยกรดวาลิไซลิกและกรดเบนโซอิก. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า. 37(3): 436-445.
  • 3.เพชรรัตน์ จันทรทิณ, ศศิวิมล จันทร์สุเทพ, สนธิชัย จันทร์เปรม และ เสริมศิริ จันทร์เปรม. 2563. ผลของเนื้อเยื่อเริ่มต้นและสารควบคุมการเจริญเติบโตต่อการเพาะเลี้ยงแคลลัสของเจตมูลเพลิงแดงเพื่อผลิตสารพลัมบาจิน. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 28(4): 655-664.
  • 4.พิพัฒน์ จินันทุยา, ศศิวิมล จันทร์สุเทพ, พรศิริ เลี้ยงสกุล, สนธิชัย จันทร์เปรม และ เสริมศิริ จันทร์เปรม. 2561. ผลของลักษณะทางสัณฐานของ hairy root เริ่มต้น อัตราการให้อากาศ และระยะเวลาการกวนอาหารต่อการเพาะเลี้ยง hairy root เจตมูลเพลิงแดงในถังปฏิกรณ์ชีวภาพ แบบ stirred tank. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า. 36(3): 50-60.
  • 5.เสริมศิริ จันทร์เปรม, เยาวพรรณ สนธิกุล, ประกาย อ่อนวิมล และ สนธิชัย จันทร์เปรม. 2561. การชักนำให้เกิดยอดจากชิ้นส่วนข้อของสักในสภาพหลอดทดลอง. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า. 36(2): 126-134.
  • 6.ประกาย อ่อนวิมล, เยาวพรรณ สนธิกุล, สนธิชัย จันทร์เปรม และ เสริมศิริ จันทร์เปรม. 2560. การถ่ายยีนรายงานผล gus และ mgfp เข้าสู่เนื้อเยื่อสักโดยการใช้อะโกรแบคทีเรียม. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า. 35(3).145-154.
  • 7.พันทิพา ลิ้มสงวน, สนธิชัย จันทร์เปรม, อิทธิฤทธิ์ อึ้งวิเชียร, ปัทมา ศรีน้ำเงิน และ เสริมศิริ จันทร์เปรม. 2560. การปรับปรุงพันธุ์โดยชักนำการกลายพันธุ์ในเบญจมาศโดยใช้รังสีแกมมาและการตรวจสอบการกลายพันธุ์โดยวิธีเอเอฟแอลพี. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. 48(3): 334-345.
  • 8.พันทิพา ลิ้มสงวน, สนธิชัย จันทร์เปรม และ เสริมศิริ จันทร์เปรม. 2560. การชักนำให้เกิดแคลลัสและต้นอ่อนจากกลีบดอกที่พัฒนาแล้วของเบญจมาศ. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. 48(3): 322-333.
  • 9.ปาริชาต ประสาทศิลป์,  ศุภธิดา อับดุลลากาซิม  และ เสริมศิริ จันทร์เปรม. 2560. การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสาร plumbagin ในเซลล์แขวนลอยจาก hairy root ของเจตมูลเพลิงแดง โดยการกระตุ้นด้วย  methyl jasmonate ในอาหารสูตร B5. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. 48(1): 139-150.
  • 10.ศิรัชตนันท์ โรจนะวิจิตร, ปิยนุช ศรชัย, ดวงกมล สัมฤทธิ์นันท์, หนึ่งฤทัย เดชสังกรานนท์, บุบผา คงสมัยและ เสริมศิริ จันทร์เปรม. 2559. เทคนิคสำหรับการแยกและการทดสอบความงอกของเรณูกล้วยไม้สกุลหวายบางพันธุ์. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. 47(3): 305-316.
  • 11.ปิยนุช ศรชัย, วราภรณ์ คำพงษ์ และ เสริมศิริ จันทร์เปรม. 2559. ปริมาณดีเอ็นเอในนิวเคลียสและความมีชีวิตของละอองเรณูกล้วยไม้สกุลหวาย 25 พันธุ์. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. 47(2): 227-240.
  • 12.ชมภูนุช ลิ้มประสาท, สนธิชัย จันทร์เปรม, พรศิริ เลี้ยงสกุล และ เสริมศิริ จันทร์เปรม. 2558. การประเมินอัลลิโลพาธีของกล้วยไม้สกุลหวาย โซเนียบอม 17 ดัดแปลงพันธุกรรม. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 46(2): 115-125.
  • 13.เยาวพรรณ สนธิกุล, สนธิชัย  จันทร์เปรม, พีระศักดิ์  ศรีนิเวศน์, และ เสริมศิริ  จันทร์เปรม. 2558.  การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อสักและการทดสอบความต้านทานต่อสารปฏิชีวนะของเนื้อเยื่อสักเพื่อการถ่ายยีน. วารสารวิทยาศาสตรNเกษตร 46(2): 101-113.
  • 14.Anuttato, S., R. boonruangrod, B. kongsamai and S.Chanprame. 2017. Morphological characterization of wild Rhynchostylis gigantea in Thailand. J. ISSAAS 23(2): 20-32.
  • 15.Onwimol, P., S. Chanprame and S. Chanprame. 2017. Agrobacterium-mediated transformation of Cry1Ab gene into Tectona grandis L. (teak). J. ISSAAS 23(1): 68-78.
  • 16.Sornchai, P., R. Koto, W. Imsabai, P. Burn, S. Chanprame and S. Chanprame. 2015. Genetic Transformation of Dendrobium 'Sonia Earsakul' with antisense Carica papayaACO1 gene. Modern Applied Science. 9(12): 125-133.