1.ธนพงศ์ เง่าพิทักษ์กุล  นายจำนอง โสมกุล ผศ.ปิยะณัฎฐ์ ผกามาศ รัชชานนท์ ทองแผ่น และวิทยา สารคุณ.การประเมินความสามารถในการทนเค็มของเชื้อพันธุกรรมมะเขือม่วงในสภาพโรงเรือน.วารสารเกษตรพระจอมเกล้า.2019.37(4):635-641.

2.ภูวไนย ไชยชุมภู ผศ.วชิรญา อิ่มสบาย วรลักษณ์ ประยูรมหิศร นายยงยุทธ พลับจะโปะและ ผศ.อัญมณี อาวุชานนท์.การประเมินปริมาณสารเบต้าแคโรทีนของฟักทองพันธุ์ลูกผสมชั่วรุ่นที่ 1 ที่เหมาะสมต่อการแปรรูป.วารสารเกษตรพระจอมเกล้า.2019.37(4):581-589.

3.รัชชานนท์ ทองแผ่น วรลักษณ์ ประยูรมหิศร และผศ.อัญมณี อาวุชานนท์.การประเมินและคัดเลือกสายพันธุ์ฟักทองเพื่อพัฒนาฟังทองสายพันธุ์แท้ ที่มีสารเบต้าแคโรทีนสูง.วารสารเกษตรพระจอมเกล้า.2019.37(4):619-626.

4.รุ่งนภา พรมดี และผศ.เกรียงศักดิ์ ไทยพงษ์.การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและเคมีระหว่างการพัฒนาของผลมะละกอพันธุ์แขกดำเกษตร.วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์.2020.7(1):35-43.

5.รสมนต์ จีนแส นางกัลยาณี สุวิทวัส และผศ.ราตรี  บุญเรืองรอด.การศึกษาโครงสร้างของดอกและลักษณะทางสัณฐานวทิยาของละอองเรณูของกล้วย 8 สายพันธุ์ กล้วยพันธุ์ป่าและพันธุ์ปลูก.วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์.2019.7(3):184-195.

6.สลาลีวัลย์ แน่นแฟ้น และผศ.ปิยะณัฏฐ์ ผกามาศ.ผลของการเตรียมความพร้อมเมล็ดพันธุ์ด้วยวิธี Nano-Bubbles priming ต่อการงอกของต้นกล้าดาวเรืองฝรั่งเศส.วารสารแก่นเกษตร.2020.48(3):515-526.

7.เพชรรัตน์ จันทรทิณ ศศิวิมล จันทร์สุภาพ รศ.สนธิชัย  จันทร์เปรม และผศ.เสริมศิริ จันทร์เปรม.ผลของเนื้อเยื่อเริ่มต้นและสารควบคุมการเจริญเติบโต ต่อการเพาะเลี้ยงแคลลัสของเจตมูลเพลิงแดงเพื่อผลิตสารพลัมบาจิน.วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.2020.28(4):656-664.

8.ผศ.ปิยะณัฎฐ์ ผกามาศ นายจำนอง โสมกุล สลาลีวัลย์ แน่นแฟ้น และสมนึก ลี้สุขสมบูรณ์.ผลของระยะเวลาการเก็บเกี่ยวต่อคุณภาพและผลผลิตของพริกระยะผลอ่อน.วารสารเกษตรพระจอมเกล้า.2019.37(4):590-597.

9.ผศ.ธีร์ หะวานนท์.รศ.เกียรติสุดา เหลืองวิลัย.ผลของเวลาเก็บเกี่ยวและฤดูกาลต่อกิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระปริมาณแอนโทไซยานินและสารฟีนอลิกทั้งหมดในดอกอัญชัญ.วารสารเกษตรพระจอมเกล้า.2019.37(4):655-661.

10.ดร.อัญชลี รวีโรจน์วิบูลย์ และรศ.จุลภาค คุ้นวงศ์.โพลีพลอยด์และบทบาทสำคัญในงานปรับปรุงพันธุ์พืช.ข่าวสารเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร (AG-BIO Newsletter).2020.12(1):7-12.

11.อลิษา  ภู่ประเสริฐ ผศ.วชิรญา อิ่มสบาย และผศ.ศิวเรศ อารีกิจ.อิทธิพลของละอองเกสรที่มีผลต่อความหอมของมะพร้าวน้ำหอม.วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์.2019.6(4):25-31.

12.ผศ.ราตรี บุญเรืองรอด รศ.เกียรติสุดา เหลืองวิลัย และศ.จริงแท้ ศิริพานิช.Chilling injury in pineapple fruit is related to mitochondrial antioxidative metabolism.Postharvest Biology and Technology.2020.170(111330):1-10.

13.ดร.ปิยนุช ศรชัย W.G.Van Doorn ผศ.วชิรญา อิ่มสบาย ดร.ปาริชาติ เบิร์นส และผศ.เสริมศิริ จันทร์เปรม.Dendrobium orchids carrying antisense ACC oxidase: small changes in flower morphology and a delay of bud abortion, flower sensescence, and abscission of flower. Transgenic Research.2020.29(4):429-442.

14.รศ.เกียรติสุดา เหลืองวิลัย และรศ.ธรรมศักดิ์ ทองเกตุ.Enhancing growth and phytochemicals of two amaranth microgreens by LED light irradiation. SCIENTIA HORTICULTURE.2020.265(109204):1-10.

15.S. Ketsakul ผศ.วชิรญาอิ่มสบาย K. Tangtrakulwanich และผศ.อัญมณีอาวุชานนท์. Identification of genes controlling fruit shape in thai pumpkin (Cucurbita moschata Duch.) International Journal of Agricultural Technology. 2020.16(3):629-640.

16.นางสาวฐิติพร สุวารี ผศ.ลพ ภวภูตานนท์ และผศ.วชิรญา อิ่มสบาย. Simulation of sea shipment of Vanda Orchids. Acta Horticulturae.2019.1262:235-240.